มังงะ

ระบบอคาเดมี่ฟุตบอล เจาะลึกระบบอคาเดมี่ฟุตบอล เรื่องราวของนักเตะเยาวชน

ระบบอคาเดมี่ฟุตบอล เจาะลึกระบบอคาเดมี่ฟุตบอล การแข่งขันชั้นสูงของเยาวชนนักเตะในอังกฤษ

ระบบอคาเดมี่ฟุตบอล เจาะลึกระบบอคาเดมี่ฟุตบอล ระบบเพื่อพัฒนาวงการฟุตบอล พัฒนานักเตะ หรือระบบทำร้ายเหล่านักเตะ เยาวชนที่ทำให้ต้องผิดหวัง กับความฝันที่ อยากเป็นนักเตะอาชีพ

แต่ไม่สามารถไปถึงได้ และมีนักเตะหลายคน จากระบบอคาเดมี่ ที่ไม่สามารถกลายเป็น นักเตะอาชีพได้ เว็บของเรานั้นจะ พาไปดูถึงเรื่องราวของ อคาเดมี่และ นักเตะที่ ไปไม่ถึงฝันว่า จะเป็นอย่างไรกันบ้าง

กับทางเว็บไซต์ของเรา โดยเราจะพาไป ดูถึงการเริ่มต้น เป็นเด็กฝึก ของสโมสรใน อังกฤษนั้นจะเริ่มต้นที่อายุ 9ขวบ อะ ค่า เด มี ฟุตบอล ที่ดีที่สุดในไทย โดยแบ่งเป็น 3ช่วงใหญ่ เริ่มจากช่วงปูพื้นฐาน หรือ Foundation Phase ที่มุ่งเน้นให้เด็ก ๆ

ในช่วงวัย 9-11ปี ได้มีความชอบ และสนุกกับ การเล่นฟุตบอล ผ่านการฝึกซ้อม อาทิตย์ละ 3-8 ชั่วโมง และมีการลงเล่น แมตช์ในรูปแบบพิเศษ เช่น จำนวนผู้เล่น ทั้งสองทีมไม่เท่ากัน มีการหมุนเวียน มังงะ

ฝ่ายได้เปรียบ เสียเปรียบ ไปในแต่ละ พักครึ่ง และมีกฏพิเศษ ว่าถ้าทำประตูได้ ในระหว่างช่วงที่สุ่มเปิดเพลง จะได้เท่ากับว่ายิง 2ประตู ขั้นถัดไปจะเป็น ช่วงพัฒนาเยาวชน หรือ Youth Development Phase

ในช่วงนี้จะ เป็นจุดหัวเลี้ยว หัวต่อสำหรับ เด็กๆ วัย 12-16 ปีเป็นอย่างยิ่ง เพราะสโมสร จะคัดแค่ดาวรุ่ง ที่มีความสามารถ มากพอจะปั้น ขึ้นสู่ทีมชุดใหญ่ไว้เท่านั้น จึงเป็นเวลาที่ นักเตะหลายคนต้องเค้นศักยภาพ ภายใน

ออกมาให้ได้มากที่สุด พร้อมกับ ได้เรียนรู้แทคติก และกลยุทธ์ต่างๆ ในเกมลูกหนัง หลักจิตวิทยา และบริบท ของสังคม ที่พวกเขากำลังจะต้องเผชิญ จากการขึ้นไปเล่น ในระดับที่สูงกว่านี้ ในการเป็นนักฟุตบอลอาชีพ

เกมการแข่งขัน ในระดับนี้ จะเริ่มมีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้น และเริ่มมีการโยน ความท้าทาย อันหลากหลาย การเปิด อะคาเดมี่ ฟุตบอล มาให้เยาวชนเหล่านี้ ได้เผชิญหากผ่านไปได้ ก็จะเข้าสู่ทีมได้ ช่วงพัฒนาสู่การเป็นมืออาชีพ

หรือ Professional Development Phase ในอายุ 17-23ปี และส่วนมาก จะสามารถ เซ็นสัญญาอาชีพ กับสโมสรได้แล้ว เพื่อลงเล่นกับทีมสำรอง หรือไปร่วมฝึกซ้อม กับผู้เล่นในทีมชุดใหญ่ได้อีกด้วย

ระบบอคาเดมี่ฟุตบอล เจาะลึกระบบอคาเดมี่ฟุตบอล เยาวชนมากมายที่ไม่ได้ไปสู่ความสมหวัง

ด้วยระบบที่เข้มงวด และต้องการนักเตะที่ เก่งจริงในระบบ อคาเดมี่ทำให้ การคัดตัวนักเตะ ในอคาเดมี่จำนวน 3ขั้นตอบขั้นต้น มีนักเตะจำนวนมาก ที่ไม่สามารถกลายเป็น นักเตะอาชีพได้ แค่ก็มีเพียงแค่บางคน

ที่สามารถหลุดจากระบบอคาเดมี่ และกลายเป็นยอดนักเตะได้ เช่น เจมี วาร์ดี ที่ถูกปล่อยออกจากทีมเยาวชน เชฟฟิลด์ เวนส์เดย์ เมื่ออายุ 16ปี ก่อนจะหลุดเคว้ง จากวงโคจรไป และแม้จะหวนกลับสู่ วงการฟุตบอลได้อีกครั้ง

เขาก็ต้องลงไปในลีกระดับ 8 ของเกาะอังกฤษ ก่อนจะค่อยๆ กรุยทางกลับขึ้น อะคาเดมี่ฟุตบอล ใกล้ฉัน มาสู่ลีกสูงสุดของ ประเทศอีกครั้งกับ เลสเตอร์ซิตี้ และยังคงโลดแล่น ในฐานะผู้เล่น 11 ตัวจริงอยู่ แม้อายุย่างเข้าวัย 34 ปีแล้วก็ตาม

ในขณะที่บางคน ทางกลับมาเดิน ตามความฝันได้สำเร็จ แต่มากกว่า 99.5% ที่เริ่มออกมากับ ระบบอคาเดมี ตั้งแต่อายุ 9ขวบ ในเกาะอังกฤษ ไม่ได้หาเลี้ยงตัวเอง ด้วยการเป็น นักฟุตบอล หรือไม่อาจยังชีพตัวเอง ทีมชาติเวียดนาม

ด้วยการเล่นฟุตบอล เพียงอย่างเดียวได้ เพราะสโมสรมักจะ คัดผู้เล่นเยาวชน ออกจากทีมมากสุดใน ระหว่างช่วงอายุ 13-16ปี ซึ่งมีผู้เล่นเยาวชนมากถึง 76% ที่ต้องออกจาก อคาเดมีของสโมสร ไปด้วยเหตุผล ที่แตกต่างกันออกไป

อย่างไรก็ตาม ฝีเท้าก็ไม่ใช่ เหตุผลเดียว ที่ทำให้ใครหลายคน ต้องดับฝัน ของตัวเองไป อ คา เด มี ฟุตบอล ที่ ดี ที่สุด ใน ไทย เพราะโชคชะตา ก็พร้อมจะเล่น ตลกร้ายกับดาวรุ่งพรสวรรค์ดี ให้ตกอับและ ต้องเลิกเอาดีด้านฟุตบอลไปแล้วมากมาย

ระบบอคาเดมี่ฟุตบอล

ระบบอคาเดมี่ฟุตบอล เจาะลึกระบบอคาเดมี่ฟุตบอล กับเรื่องราวดังเกี่ยวกับนักเตะที่ล่มเหลวไม่สามารถเป็นนักเตะอาชีพได้

โดยแม้จะมียอดนักเตะและ นักเตะที่สามารถประสบความสำเร็จ และกลายเป็นนักเตะ อาชีพ มากมาย จากระบบอคาเดมี่ แต่ก็มีนักเตะส่วนหนึ่ง ฝีเท้าก็ไม่ใช่ เหตุผลเดียว ที่ทำให้ใครหลายคน ต้องดับฝันของตัวเองไป

เพราะโชคชะตา ก็พร้อมจะเล่น ตลกร้ายกับดาวรุ่ง พรสวรรค์ดี ให้ตกอับ และต้องเลิก เอาดีด้านฟุตบอล ไปแล้วมากมาย หนึ่งในกรณี ศึกษาที่กลายเป็น พาดหัวข่าว คือเรื่องราวของ เจเรมี วิสตัน อดีตดาวรุ่งชาวมาลาวี

ของ แมนเชสเตอร์ซิตี้ ผู้เคยร่วมฝึก อยู่กับสโมสรใน ระหว่างปี 2016-2019 ก่อนที่อาการบาดเจ็บ อะ คา เด มี ไทยลีก หัวเข่าจะชะลอ พัฒนาการของ เขาลง จนไม่ผ่าน เกณฑ์ที่จะไปต่อ ในระดับถัดไปกับทีมได้

สิ่งที่น่าเศร้าที่สุดคือ วิสตัน ได้ตัดสินใจ จบชีวิตของตัวเองลง ในวัย 18ปี เมื่อเดือนตุลาคม 2020 ที่ผ่านมา หลังจากต้อง ต่อสู้กับสุขภาพจิตที่ย่ำแย่ เมื่อความฝันพังทลาย และสำหรับอดีตดาวรุ่งอีกหลายๆ คน

ที่ประสบปัญหา ในรูปแบบเดียวกัน กับเขา อาการบาดเจ็บ ที่ผู้เล่นดาวรุ่ง เหล่านี้เผชิญ ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ใช่ว่าจะทำให้ พวกเขากลับมาไม่ได้ แต่ในเวทีที่ มีการแข่งขันสูง เพื่อช่วงชิงโอกาสขึ้นสู่ ทีมชุดใหญ่แบบนี้

การหยุดพัฒนา ร่างกายตัวเองไป แม้ช่วงสั้นๆ ก็แทบจะเพียงพอ ให้พวกเขาถูก คัดออกจากอคาเดมี่ ของสโมสรได้แล้ว หรือแม้แต่ ดีวอนเท เรดมอนด์ อดีตกองกลาง ดาวรุ่งของ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด

ซึ่งเคยเป็นดาวรุ่ง ที่ถูกมองว่าจะมี โอกาสขึ้นชุดใหญ่ก่อนหน้า สกอตต์ แมคโทมิเนย์ ก็ถูกขึ้นบัญชีปล่อย โครงสร้าง อะ ค่า เด มี ฟุตบอล ออกจากทีมใน ช่วงสิ้นสุดฤดูกาล 2017-18 และต้องลงไป เก็บประสบการณ์จากทีมในลีกระดับล่าง

อย่าง ซัลฟอร์ด ซิตี้ และ เร็กซ์แฮม แน่นอนว่าสำหรับ เด็กคนหนึ่งที่ เติบโตมาในอคาเดมี แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด นานถึง 13ปี การต้องไปเริ่มต้นใหม่ใน ลีกที่รองลงมา ย่อมยากเสมอ และไม่สามารถกลับขึ้นมาได้ จนปัจจุบัน

มาตรการในการป้องกัน นักเตะจากอคาเดมี่ที่ไม่สามารถเป็นนักเตะอาชีพได้คือการให้ความรู้ในสายอาชีพอื่น

โดยมาร์ธา เคลเนอร์ จาก Sky News ระบุว่ามีดาวรุ่ง เพียงแค่ 0.5% ที่เริ่มต้นเส้นทาง ในฐานะนักเตะอคาเดมี่ จะสามารถหา เลี้ยงชีพได้จากเส้นทางนี้ ซึ่งในปัจจุบัน ก็ได้มีมาตรการที่ครอบคลุมมากขึ้น

ในการช่วย ให้บรรดาผู้เล่น ดาวรุ่งเหล่านี้ ได้มีทางไปต่อ หากเส้นทาง สายอาชีพนักฟุตบอล ไม่เป็นอย่างที่ พวกเขาหวัง เรื่องดังกล่าวมี จุดเริ่มต้นจาก กฎที่ผู้เล่น อายุต่ำกว่า 17ปี จะยังไม่สามารถเซ็นสัญญาอาชีพ กับทีมได้

ดังนั้นตั้งแต่ช่วงอายุ 14-19 ปี สโมสรสามารถมอบทุน การศึกษาให้ กับผู้เล่นที่มี แววเหล่านี้ เพื่อช่วย ในเรื่องการพัฒนา ให้เยาวชนเหล่านี้เติบโตขึ้นมา อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นผลงานในสนาม

ความเป็นอยู่ที่ดี ในด้านต่างๆ และที่สำคัญที่สุดก็คือ การศึกษา ที่ในช่วงหลัง หลายสโมสรให้ความสำคัญ กับเหล่านักเตะมากยิ่งขึ้น ในด้านของการศึกษาที่ ไม่ว่าจะนักเตะฝีเท้าดี หรือไม่ดีพอ ก็จะได้รับการศึกษาที่ดี

เรื่องราวของนักเตะในยุคสมัยนี้ ที่ได้รับการเยียวยาป้องกันไม่ให้ล่มเหลวมากเกินไป

แม้จะมีมาตรการต่างๆ ที่คอยป้องกัน และให้ความช่วยเหลือ กับเยาวชนเหล่านี้ แต่การถูกปฏิเสธ สัญญาอาชีพ หรือถูกปล่อย ออกจากสโมสร ที่พวกเขาอยู่มานาน กว่าทศวรรษนั้น ย่อมมีผลกระทบ ในด้านจิตใจ

อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และคงไม่มีใคร จะเข้าใจความรู้สึกนี้ ได้ดีไปกว่า คนที่เคยโดยมาก่อนอย่าง พอล มิตเทน และ คาร์ล บราวน์ ผู้ที่ผันตัวมาคอยให้คำปรึกษา กับบรรดาดาวรุ่ง ที่กำลังหลงทางอยู่

Scroll to Top